ใบงานที่ 6
http://www.google.co.th เป็นหลักในการอธิบายเนื่องจากว่าเว็บไซต์แห่งนี้มีประสิทธิภาพในการค้นหาที่สูงมาก (และในบางครั้งประสิทธิภาพที่ว่านี้ก็อาจเรียกได้ว่าสูงเกินไปด้วยซ้ำ) เทคนิคที่ 1 การใช้คำสำคัญ (keyword) เพื่อเจาะจงเนื้อหา ในเทคนิคนี้ผมจะแยกนำเสนอออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
1. คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยล้วนๆ
2. คำสำคัญที่เป็นภาษาอังกฤษล้วนๆ
3. คำสำคัญที่มีทั้ง 2 ภาษาปนกันเทคนิคที่ 2 การใช้คำสำคัญ (keyword) เพื่อเจาะจงรูปแบบของไฟล์
ในการค้นหาข้อมูลนั้น บางครั้งเราอาจต้องการเจาะจงรูปแบบของไฟล์เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ต้องการนำไฟล์นั้นไปใช้พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ หรือว่านำไปใช้ประกอบการทำรายงาน หรือแม้กระทั่งนำไปใช้ในการนำเสนอผลงาน ซึ่ง search engine บางแห่งไม่สนับสนุนรูปแบบไฟล์อื่นๆ
นอกจากไฟล์เว็บเพ็จที่มีนามสกุล (Extension) เป็น *.html หรือ *.htm แต่เว็บไซต์ http://www.google.co.th สนับสนุนไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ นอกจาก *.html หรือ *.htm ได้แก่ *.doc (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Word), *.xls (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Excel), *.ppt (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint) และไฟล์ *.pdf (Portable Document Format) ซึ่งเปิดอ่านได้จากโปรแกรมยอดนิยมอย่าง Adobe Acrobat Reader เป็นต้นเทคนิคที่ 3 หลีกเลี่ยงการใช้คำหรือเครื่องหมายบางประเภทประกอบในคำสำคัญ search engine ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง http://www.google.co.th มักจะไม่รวมเอาคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ คำบุพบท คำสันธานในภาษาอังกฤษ เช่น a , an , the , on ฯลฯ เข้าไว้ในการค้นหา จากภาพประกอบ 8 จะเห็นได้ว่าคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ “the” ไม่ถูกรวมในการค้นหา ทั้งนี้เนื่องจากว่าในการค้นหาเอกสารภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ (โดยส่วนตัวผมเชื่อว่ามากกว่า 95% ของจำนวนเอกสารที่เป็นภาษาอังกฤษที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต) คำสรรพนามตัวนี้จะอยู่ในเอกสารอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นเพื่อให้ผลการค้นหารัดกุมและผลลัพธ์มีจำนวนไม่มากเกินไป ระบบ search engine ส่วนใหญ่จึงไม่รวมคำว่า the ไว้ในการค้นหา แต่ทั้งนี้ถ้าหากว่าต้องการให้คำสรรพนามชี้เฉพาะ หรือคำยกเว้นต่างๆ รวมอยู่ในการค้นหาด้วย ผมแนะนำว่าให้ใช้เครื่องหมาย “ ” คร่อมคำเฉพาะนั้นด้วยเทคนิคที่ 4 หลีกเลี่ยงการใช้คำสำคัญที่มีความยาวเกินไป search engine ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง http://www.google.co.th มักจะแสดงผลการค้นหาในทำนองว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” เนื่องจากสาเหตุหลายประการ โดยหนึ่งในสาเหตุเหล่านั้นก็คือการใช้คำสำคัญที่ยาวเกินไป สมมติว่าคุณต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ “การแยกตัวประกอบของพหุนาม” แต่ปรากฏว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ เราก็เปลี่ยนคำสำคัญใหม่โดยการแตกคำสำคัญที่ยาวๆ นั้นให้สั้นลง แล้วใช้วิธีการเว้นวรรค หรือใช้เครื่องหมาย “ ” คร่อมคำสำคัญคู่ใดคู่หนึ่งแทน ในกรณีนี้ก็อาจเปลี่ยนไปใช้คำว่า “พหุนาม” “แยกตัวประกอบ” ก็ได้ เทคนิคที่ 5 การค้นหาข้อมูลที่เป็นราชทินนาม, ฐานันดรศักดิ์, บรรดาศักดิ์, ชื่อบุคคล ในบางครั้งถ้าหากเราต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในพระบรมราชวงศ์ บรรดาศักดิ์ของขุนนาง ชื่อของบุคคล เป็นต้น เราอาจพบว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ สาเหตุประการหนึ่งก็คือคำสำคัญที่ยาวเกินไป ในกรณีนี้เทคนิคที่ 4 สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ แต่ถ้าหากว่าเราต้องการค้นหาชื่อบุคคล เราก็สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคที่ 4 ได้อีกเช่นกันโดยการแยกส่วนที่เป็นชื่อกับนามสกุลออกจากกัน เช่น ต้องการหาข้อมูลของ “ทักษิณ ชินวัตร” สมมติว่า search engine ไม่พบข้อมูลเกี่ยวกับ “ทักษิณ ชินวัตร” หรือพบแต่ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการ ก็เลี่ยงไปใช้คำสำคัญ “ทักษิณ” “ชินวัตร” แทนอย่างนี้เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามผมมีข้อสังเกตว่าการใช้คำสำคัญติดกันโดยการคร่อมด้วยเครื่องหมาย “ ” ก็อาจให้ทางเลือกที่ดีกว่าในการค้นหาและคัดเลือกข้อมูลโดยตัวเราเอง เทคนิคที่ 6 ตรวจสอบตัวสะกดให้ถูกต้อง สาเหตุหนึ่งที่ search engine ไม่พบข้อมูลที่ต้องการหรือผลการค้นหาไม่เป็นไปตามที่คาดหวังก็คือการสะกดคำที่ไม่ถูกต้อง ในกรณีนี้ส่วนใหญ่มักเกิดจากการใช้คำสำคัญภาาษต่างประเทศที่ใช้วิธีเขียนทับศัพท์เป็นภาษาไทยไปเลย หรือในกรณีคำสำคัญที่เป็นภาษาต่างประเทศก็คือตกตัวสะกดไปตัวหนึ่งหรือเขียนผิดไปตัวหนึ่งก็ทำให้ผลการค้นหาคลาดเคลื่อนได้เช่นกัน เทคนิคที่ 7 การใช้ search engine เป็นเครื่องมือค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการ ในบางครั้งถ้าเราต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์หนึ่งแต่เราไม่แน่ใจหรือจำไม่ได้ว่าเว็บไซต์นั้นมี URL (Uniform Resource Locator) ว่าอย่างไร สมมติว่าคุณต้องการเข้ามายังเว็บไซต์ sudipan.net แต่ปรากฏว่าเราลืม URL ของเว็บนี้ วิธีที่ง่ายที่สุดก็คือใช้คำสำคัญซึ่งเป็นชื่อที่เรานึกออกว่าเป็นส่วนหนึ่งของชื่อเว็บไซต์นั้น ซึ่งในกรณีนี้สมมติผมใช้คำสำคัญว่า “sudipan” ก็จะได้ผลการค้นหาเป็นทุกๆ เว็บเพ็จที่มีคำว่า sudipan แต่เป้าหมายของเราคือต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์ดังกล่าวไม่ใช่หาข้อมูลเกี่ยวกับ sudipan เราก็เลือกที่ลิงก์แรกซึ่งมี URL คือ http://www.sudipan.net นั่นเอง เทคนิคที่ 8 การใช้คำสำคัญในทางตรรกศาสตร์ search engine หลายแห่งสามารถใช้คำในวิชาตรรกศาสตร์มาช่วยคัดเลือกข้อมูลได้ โดยจะเป็นผลให้จำนวนผลการค้นหาลดน้อยลงหรือเป็นไปตามที่เราคาดหวังมากขึ้น ซึ่งคำในวิชาตรรกศาสตร์ที่ใช้ได้มีดังต่อไปนี้ AND OR NOT สำหรับวิธีการใช้งานอย่างคร่าวๆ มีดังนี้ 1. AND ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่ติดกับคำว่า AND ทั้งสองคำ เช่น “chemistry” AND “atomic theory” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า chemistry และคำว่า atomic theory ทั้ง 2 คำอยู่ในเอกสารเดียวกัน 2. OR ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญตัวใดตัวหนึ่งที่อยู่ติดกับคำว่า OR เช่น “physics” OR “mechanics” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า physics หรือ mechanics คำใดคำหนึ่งก็ได้ 3. NOT ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่หน้าคำว่า NOT แต่ไม่ต้องค้นหาคำที่อยู่หลังคำว่า NOT เช่น mathematics NOT calculus หมายความว่า ให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า mathematics แต่ต้องไม่มีคำว่า calculus อยู่ด้วย หมายเหตุ เทคนิคที่ 8 นี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุดตามมหาวิทยาลัยได้ด้วยhttp://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?t=3520Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลใน server ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ ตัวอย่าง Search Engine ที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น
1. คำสำคัญที่เป็นภาษาไทยล้วนๆ
2. คำสำคัญที่เป็นภาษาอังกฤษล้วนๆ
3. คำสำคัญที่มีทั้ง 2 ภาษาปนกันเทคนิคที่ 2 การใช้คำสำคัญ (keyword) เพื่อเจาะจงรูปแบบของไฟล์
ในการค้นหาข้อมูลนั้น บางครั้งเราอาจต้องการเจาะจงรูปแบบของไฟล์เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง เช่น ต้องการนำไฟล์นั้นไปใช้พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ หรือว่านำไปใช้ประกอบการทำรายงาน หรือแม้กระทั่งนำไปใช้ในการนำเสนอผลงาน ซึ่ง search engine บางแห่งไม่สนับสนุนรูปแบบไฟล์อื่นๆ
นอกจากไฟล์เว็บเพ็จที่มีนามสกุล (Extension) เป็น *.html หรือ *.htm แต่เว็บไซต์ http://www.google.co.th สนับสนุนไฟล์ในรูปแบบอื่นๆ นอกจาก *.html หรือ *.htm ได้แก่ *.doc (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Word), *.xls (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft Excel), *.ppt (ไฟล์ที่สร้างจากโปรแกรม Microsoft PowerPoint) และไฟล์ *.pdf (Portable Document Format) ซึ่งเปิดอ่านได้จากโปรแกรมยอดนิยมอย่าง Adobe Acrobat Reader เป็นต้นเทคนิคที่ 3 หลีกเลี่ยงการใช้คำหรือเครื่องหมายบางประเภทประกอบในคำสำคัญ search engine ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง http://www.google.co.th มักจะไม่รวมเอาคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ คำบุพบท คำสันธานในภาษาอังกฤษ เช่น a , an , the , on ฯลฯ เข้าไว้ในการค้นหา จากภาพประกอบ 8 จะเห็นได้ว่าคำสรรพนามไม่ชี้เฉพาะ “the” ไม่ถูกรวมในการค้นหา ทั้งนี้เนื่องจากว่าในการค้นหาเอกสารภาษาอังกฤษส่วนใหญ่ (โดยส่วนตัวผมเชื่อว่ามากกว่า 95% ของจำนวนเอกสารที่เป็นภาษาอังกฤษที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต) คำสรรพนามตัวนี้จะอยู่ในเอกสารอยู่แล้ว เพราะฉะนั้นเพื่อให้ผลการค้นหารัดกุมและผลลัพธ์มีจำนวนไม่มากเกินไป ระบบ search engine ส่วนใหญ่จึงไม่รวมคำว่า the ไว้ในการค้นหา แต่ทั้งนี้ถ้าหากว่าต้องการให้คำสรรพนามชี้เฉพาะ หรือคำยกเว้นต่างๆ รวมอยู่ในการค้นหาด้วย ผมแนะนำว่าให้ใช้เครื่องหมาย “ ” คร่อมคำเฉพาะนั้นด้วยเทคนิคที่ 4 หลีกเลี่ยงการใช้คำสำคัญที่มีความยาวเกินไป search engine ส่วนใหญ่ซึ่งรวมถึง http://www.google.co.th มักจะแสดงผลการค้นหาในทำนองว่า “ไม่พบข้อมูลที่ต้องการ” เนื่องจากสาเหตุหลายประการ โดยหนึ่งในสาเหตุเหล่านั้นก็คือการใช้คำสำคัญที่ยาวเกินไป สมมติว่าคุณต้องการค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับ “การแยกตัวประกอบของพหุนาม” แต่ปรากฏว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ เราก็เปลี่ยนคำสำคัญใหม่โดยการแตกคำสำคัญที่ยาวๆ นั้นให้สั้นลง แล้วใช้วิธีการเว้นวรรค หรือใช้เครื่องหมาย “ ” คร่อมคำสำคัญคู่ใดคู่หนึ่งแทน ในกรณีนี้ก็อาจเปลี่ยนไปใช้คำว่า “พหุนาม” “แยกตัวประกอบ” ก็ได้ เทคนิคที่ 5 การค้นหาข้อมูลที่เป็นราชทินนาม, ฐานันดรศักดิ์, บรรดาศักดิ์, ชื่อบุคคล ในบางครั้งถ้าหากเราต้องการข้อมูลเกี่ยวกับสมาชิกในพระบรมราชวงศ์ บรรดาศักดิ์ของขุนนาง ชื่อของบุคคล เป็นต้น เราอาจพบว่าไม่มีข้อมูลที่ต้องการ สาเหตุประการหนึ่งก็คือคำสำคัญที่ยาวเกินไป ในกรณีนี้เทคนิคที่ 4 สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ แต่ถ้าหากว่าเราต้องการค้นหาชื่อบุคคล เราก็สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคที่ 4 ได้อีกเช่นกันโดยการแยกส่วนที่เป็นชื่อกับนามสกุลออกจากกัน เช่น ต้องการหาข้อมูลของ “ทักษิณ ชินวัตร” สมมติว่า search engine ไม่พบข้อมูลเกี่ยวกับ “ทักษิณ ชินวัตร” หรือพบแต่ไม่ใช่สิ่งที่เราต้องการ ก็เลี่ยงไปใช้คำสำคัญ “ทักษิณ” “ชินวัตร” แทนอย่างนี้เป็นต้น แต่อย่างไรก็ตามผมมีข้อสังเกตว่าการใช้คำสำคัญติดกันโดยการคร่อมด้วยเครื่องหมาย “ ” ก็อาจให้ทางเลือกที่ดีกว่าในการค้นหาและคัดเลือกข้อมูลโดยตัวเราเอง เทคนิคที่ 6 ตรวจสอบตัวสะกดให้ถูกต้อง สาเหตุหนึ่งที่ search engine ไม่พบข้อมูลที่ต้องการหรือผลการค้นหาไม่เป็นไปตามที่คาดหวังก็คือการสะกดคำที่ไม่ถูกต้อง ในกรณีนี้ส่วนใหญ่มักเกิดจากการใช้คำสำคัญภาาษต่างประเทศที่ใช้วิธีเขียนทับศัพท์เป็นภาษาไทยไปเลย หรือในกรณีคำสำคัญที่เป็นภาษาต่างประเทศก็คือตกตัวสะกดไปตัวหนึ่งหรือเขียนผิดไปตัวหนึ่งก็ทำให้ผลการค้นหาคลาดเคลื่อนได้เช่นกัน เทคนิคที่ 7 การใช้ search engine เป็นเครื่องมือค้นหาเว็บไซต์ที่ต้องการ ในบางครั้งถ้าเราต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์หนึ่งแต่เราไม่แน่ใจหรือจำไม่ได้ว่าเว็บไซต์นั้นมี URL (Uniform Resource Locator) ว่าอย่างไร สมมติว่าคุณต้องการเข้ามายังเว็บไซต์ sudipan.net แต่ปรากฏว่าเราลืม URL ของเว็บนี้ วิธีที่ง่ายที่สุดก็คือใช้คำสำคัญซึ่งเป็นชื่อที่เรานึกออกว่าเป็นส่วนหนึ่งของชื่อเว็บไซต์นั้น ซึ่งในกรณีนี้สมมติผมใช้คำสำคัญว่า “sudipan” ก็จะได้ผลการค้นหาเป็นทุกๆ เว็บเพ็จที่มีคำว่า sudipan แต่เป้าหมายของเราคือต้องการเข้าไปยังเว็บไซต์ดังกล่าวไม่ใช่หาข้อมูลเกี่ยวกับ sudipan เราก็เลือกที่ลิงก์แรกซึ่งมี URL คือ http://www.sudipan.net นั่นเอง เทคนิคที่ 8 การใช้คำสำคัญในทางตรรกศาสตร์ search engine หลายแห่งสามารถใช้คำในวิชาตรรกศาสตร์มาช่วยคัดเลือกข้อมูลได้ โดยจะเป็นผลให้จำนวนผลการค้นหาลดน้อยลงหรือเป็นไปตามที่เราคาดหวังมากขึ้น ซึ่งคำในวิชาตรรกศาสตร์ที่ใช้ได้มีดังต่อไปนี้ AND OR NOT สำหรับวิธีการใช้งานอย่างคร่าวๆ มีดังนี้ 1. AND ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่ติดกับคำว่า AND ทั้งสองคำ เช่น “chemistry” AND “atomic theory” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า chemistry และคำว่า atomic theory ทั้ง 2 คำอยู่ในเอกสารเดียวกัน 2. OR ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญตัวใดตัวหนึ่งที่อยู่ติดกับคำว่า OR เช่น “physics” OR “mechanics” หมายความว่าให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า physics หรือ mechanics คำใดคำหนึ่งก็ได้ 3. NOT ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคำสำคัญที่อยู่หน้าคำว่า NOT แต่ไม่ต้องค้นหาคำที่อยู่หลังคำว่า NOT เช่น mathematics NOT calculus หมายความว่า ให้ค้นหาข้อมูลที่มีคำว่า mathematics แต่ต้องไม่มีคำว่า calculus อยู่ด้วย หมายเหตุ เทคนิคที่ 8 นี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้กับการค้นหาข้อมูลในฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุดตามมหาวิทยาลัยได้ด้วยhttp://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?t=3520Search Engine เป็นเครื่องมือหรือโปรแกรมในการค้นหาเว็บต่างๆ โดยมีการเก็บ รายชื่อเว็บไซต์ และข้อมูลที่เกี่ยวข้องต่างๆ ของเว็บไซต์และนำมาจัดเก็บไว้ใน server เพื่อให้สามารถค้นหาและแสดงผลได้สะดวก และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ บาง search engine อาจไม่ได้มีการเก็บข้อมูลใน server ของตัวเอง แต่อาจอาศัยข้อมูลจากเจ้าของ server นั้นๆ ตัวอย่าง Search Engine ที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ เช่น sanook.com, siamguru.com, google.com, yahoo.com, msn.com, altavista.com, search.com เป็นต้น
0 Response to "ใบงานที่ 6"
แสดงความคิดเห็น